วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554

JSP คืออะไร

JSP เป็นสคริปต์อีกภาษาหนึ่ง ซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน จุดเด่นที่สำคัญของ JSP อยู่ที่การใช้ภาษา Java ซึ่งเป็นเชิง OOP ที่ช่วยสามารถพัฒนาแอปพลิแคชันขนาดใหญ่และซับซ่อน ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว




ข้อดีของ JSP
การพัฒนาเว็บแอปพลิแคชันด้วย JSP มีข้อดีต่างๆ มากมาย ดังนี้

1. ทำงานโดยไม่ยิดติดแพลตฟอร์มใดๆ JSP ได้สืบทอกคุณสมบัติ ของ Java มาอย่างเต็มที่ โดยสามารถทำงานได้ในทุกแพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็น windows, linux, mac oshttp://www.blogger.com/img/blank.gif
2. ใช้งาน Java API ได้หลากหลาย ซึ่ง Java API คือกลุ่มของคลาสที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน ไม่ว่าhttp://www.blogger.com/img/blank.gifจะเป็น การติดต่อกับ database, การรับส่ง อีเมล์ เป็นต้น
3. นำคอมโพเนนต์กลับมาใช้ได้อีก ไม่ต้องเสียเวลาสร้างใหม่ ดังนั้นเราจึงไม่ต้องเสียเวลาเขียนสคริปต์ ใหม่เพื่อทำงานครั้งต่อไป จึงช่วยให้นักพัฒนาสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้เร็วขึ้น
4. มีความยืดหยุนในการใช้งาน คือเราสามรถกำหลด tag ใหม่ชึ้นมาใช้งานได้ รวมทั้งยังสามารถนำไปใช้งานร่วมกับ XML ได้เป็นอย่างดี
5. ความปลอกภัยสูง JSP มีระบบจัดการข้อพิดพลาดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อพิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างการเขียน program หรือข้อพิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่าง runtime ล้วนสามารถตรวจสอบข้อพิดพลาดได้ทันที่และตรงจุด

เขียนโดย นางสาวน้ำผึ้ง รักแดง (ลูกน้ำ)

3 ความคิดเห็น:

  1. การเขียนโปรเกรมด้วยภาษา JSP นั้นแม้จะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจของนักโปรแกรมเมอร์ แต่การเลือกใช้ภาษาในการใช้งานพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น อาจขึ้นอยู่กับความสะดวก ความชอบ หรือความถนัดส่วนบุคคลของนักโปรแกรมเมอร์

    นายนฤพนธ์ วุฒิภาพภิญโญ(nIx)

    ตอบลบ
  2. ภาษา JSP เป็นเทคโนโลยีของจาวาสำหรับสร้าง HTML, XML หรือตามที่ผู้ใช้ร้องขอ มีตัวแปลภาษาคือ Tomcat Apache และ Java Compiler


    นางสาวอริญญา ปิ่นแก้วกาญจน์ (ปอย)

    ตอบลบ
  3. โครงสร้างของ JSP นั้นเป็นลักษณะของแท็ก (tag) ชนิดพิเศษที่แทรกเข้าไปใน
    เอกสาร HTML และเปลี่ยนนามสกุลของเอกสารเป็น . JSP แทนที่จะเป็น .HTM
    หรือ .HTML โดยแท็กเหล่านี้เว็บบราวเซอร์จะไม่สามารถตีความหมายได้ จะต้องนำไปประมวลผลก่อนที่เว็บเซิร์ฟเวอร์เท่านั้น (หรือที่เราเรียกว่าการทำงานแบบ Server Side) แล้วนำผลลัพธ์ทั้งหมดส่งกลับมายังเว็บบราวเซอร์ในลักษณะของเอกสาร HTML ซึ่งเว็บบราวเซอร์สามารถตีความหมายและนำมาแสดงผลได้

    อุมาภรณ์ ชัยภักดี (ต้องตา) 51040903

    ตอบลบ

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น