ทฤษฎีแบบจำลองน้ำตก (อังกฤษ: Waterfall Model) เป็นการศึกษาถึงความเหมาะสม กำหนดปัญหา
หรือการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) เป็นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบในการพัฒนาซอฟต์แวร์
จะเน้นศึกษาใน 5 ประการ คือ
1. ความเหมาะสมทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) - ศึกษาด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เหมาะสมหรือไม่
คุณลักษณะของ Waterfall Model
- เป็น Seriesของขั้นตอนการทำงาน คล้ายสายงานการผลิต (Product Line)
- แต่ละขั้น หน้าที่และProduct ถูกกำหนดอย่างชัดเจน
- Product ส่วนใหญ่เป็นเอกสาร (Document)
- Productที่ผลิตในแต่ละขั้นจะเป็นพื้นฐานสำหรับงานขั้นต่อไป
- สามารถตรวจสอบความถูกต้องของงานในแต่ละขั้นได้
ข้อดีของ Waterfall Model
- แบ่งงานยากให้เป็นงานที่เล็ก ง่ายต่อการจัดการ
- มีการกำหนด Product ที่ต้องส่งมอบในแต่ละงาน อย่างชัดเจน
ข้อจำกัดของ Waterfall Model
- ถ้า ค้นพบข้อผิดพลาดของขั้นที่เสร็จสิ้นแล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้ การแก้ไขจำเป็นต้องเริ่มรอบ (Iteration) ใหม่ ระหว่างการทำ Coding เจอข้อผิดพลาดในงานออกแบบ ในความเป็นจริง หลังการทำงานในแต่ละขั้นควรสามารถย้อนไปแก้ไขความผิดพลาดในขั้นใดใดก็ได้ก่อนหน้า ดังนั้นในทางปฏิบัติ ขั้นตอนการทำงานใน Waterfall จึงไม่เป็นเชิงเส้น (Linear)
- ข้อเสียหลักคือ ลูกค้าเห็นและทดลองใช้ Software ก็ต่อเมื่อถึงขั้นตอนสุดท้าย หากมีบางอย่างที่ไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้า การแก้ไขยาก แพง เสียเวลา
เพื่อนๆ ลองศึกษาดูโมเดลตัวอื่นๆที่ใช้ในการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้นะ ในอินเตอร์เน็ตมีอีกหลายตัว
ตอบลบทฤษฎีนี้ข้อจำกัดของมันดังที่ได้กล่าวไว้ คือ ค้นพบข้อผิดพลาดของขั้นที่เสร็จสิ้นแล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้ การแก้ไขจำเป็นต้องเริ่มรอบ(Iteration) ใหม่
ตอบลบจึงทำให้เมื่อเกิดการผิดพลาดอาจทำให้เสียเวลาในการแก้ไข เราอาจจะศึกษาโมเดลตัวอื่นๆเพิ่มเติมได้อีก เช่นเดียวกับความเห็นด้านบนของ mcdoughnuts ค่ะ
(น.ส. ชุติมา สิงห์เส .. 'อ๋อหรอ')
ขอบคุณ นัทธมน ที่นำเรื่องราว ของการพัฒนาระบบ มาให้เรียนรู้นะคะ (ครูจะได้ไม่ต้องเล็กเซอร์
ตอบลบรูปแบบวงจรชีวิตของซอฟต์แวร์มีจำนวนมาก ที่นิยมใช้กันกว้างขวางที่สุดมี 2 แบบ คือ Waterfall Model และ Rapid Prototyping Model นอกจากสองแบบนี้แล้ว ในปัจจุบันยังมีอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งกำลังเป็นที่สนใจอย่างมากคือ Spiral Model และเมื่อพิจารณาถึงข้อดีข้อเสียของทั้ง 3 แบบแล้ว รูปแบบอื่นก็ควรจะต้องกล่าวถึงด้วย นั่นคือ แบบ Incremental Model และแบบที่ไม่ได้รับความนิยมเลยคือ Build-and-Fix Model
ตอบลบน.ส. ศุภญานี แต้มคุณ (มุก)
มันเยอะอะ ขี้เกียจอ่าน อาจานอธิบายในห้องด้วยก็จะดีนะครับ
ตอบลบกัญจน์ ชาญสิทธิโชค (กัน หอ)
สรุปให้ค่ะ แบบสั้นๆนะค่ะ
ตอบลบWaterfall model ถือได้ว่าเป็นแบบวงจรหนึ่งนะค่ะ ที่นิยมใช้ค่ะ โดยจะแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนค่ะ คือ
1. Project planning การศึกษาความเป็นไปได้, การวางแผนตารางงาน,
2. Analysis การวิเคราะห์ความต้องการ และ กระบวณการทำงาน
3. Design การออกแบบวิธีการแก้ปํญหา โดยอาศัยการวิเคาระห์ความต้องการในขั้น2
4. Implementation การสร้าง, ทดสอบ, ฝึกผู้ใช้, และ การลงระบบใหม่
5. Support การทำให้ระบบยังดำเนินต่อไปได้ และการพัฒนาอื่นๆ
โดยแบบนี้สามารถนำไปใช้กับโปรเจกได้ด้วยนะ^^
ฺBY พิชชานันท์ พินิจธนภาคย์ (เอ)
Waterfall Model เป็นโมเดลที่ศึกษาถึงความเหมาะสม กำหนดปัญหา
ตอบลบหรือการศึกษาความเป็นไปได้ ของการทำระบบ โดยเราต้องศึกษาถึงขั้นตอนการทำงานในแต่ละขั้นตอนการผลิตก่อน
By วรพร ไตรศรัทธ์ (แตงโม)
Waterfall Model มีการแบ่งกระบวนการทำงานออกเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ขั้นตอนในแต่ละช่วงจะสืบเนื่องกันไปจากขั้นหนึ่งสู่อีกขั้นหนึ่งตามลำดับเหมือนสายน้ำตก หากผู้พัฒนาต้องการปรับปรุงแก้ไขในส่วนใดก็สามารถย้อนกลับไปปรับปรุงขั้นตอนก่อนหน้าได้
ตอบลบรัตน์ชนันท์ ถาวรศักดิ์สุธี(โบว์ลิ่ง)