ซึ่งเห็นว่าความต้องการสารสนเทศขององค์กรถูกกำหนดขึ้นโดยปัจจัยที่ทำให้เกิดผลสำเร็จของผู้บริหารจำนวนไม่มาก
จุดดี
วิธีการ ใช้การสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงประมาณ3-4 คน เพื่อให้กำหนดวัตถุประสงค์และผลที่คาดเดาของปัจจัย CSF เพื่อนำไปประมวลสำหรับกำหนดเป็น CSF ขององค์กรจากนั้นจึงนำไปพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นมา คือ มีปริมาณข้อมูลที่ต้องทำการวิเคราะห์น้อย เป็นการมุ่งเน้นเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดผลสำคัญจึงเป็นวิธีการที่เหมาะกับการนำมาใช้กับการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจ และระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง จุดอ่อน
ศิลป์มากกว่าศาสตร์จึงไม่มีวิธีการที่แน่นอนตายตัวและอีกประการหนึ่งอาจมีการสับสนว่าอะไร คือ CSF ขององค์กร หรือข้อมูลTurban (2006) เสนอเพิ่มอีก 2 วิธี คือ Stage of Growth และ Scenario Planningของวิธีการนี้คือกระบวนการนำข้อมูลไปใช้และการวิเคราะห์เป็นงานประเภท
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น