วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ประเภทของตัวต้นแบบ

ในปัจจุบัน คำว่า "โปรโตไทป์" ได้ถูกใช้ในหลายๆ ความหมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้ในสภาวะที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี การทำโปรโตไทป์สามารถจะแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยด้วยกันอยู่ กลุ่ม ดังนี้

1. ตัวต้นแบบชนิดปะติดปะต่อ (Patched-Up Prototype)

เป็นตัวต้นแบบที่สร้างขึ้นทีละส่วนแล้วนำมาปะติดปะต่อกัน คล้ายการนำขนมปังมาซ้อนชั้นกัน

2.ตัวต้นแบบที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (Nonoperational Prototype)

เป็นตัวต้นแบบที่สร้างขึ้นเพื่อทดสอบผลกระทบบางอย่าง

3. ตัวต้นแบบที่ใช้ได้เพียงส่วนเดียว (First-Of-A-Series Prototype)

เป็นตัวต้นแบบที่เป็นเหมือนตัวต้นแบบนำร่องให้ผู้ใช้ได้ใช้ในส่วนหนึ่งให้เห็นถึงผลกระทบต่างๆ ก่อนที่จะใช้ระบบจริงเต็มรูปแบบเพื่อให้มีผลกระทบน้อยที่สุด

4. ตัวต้นแบบที่เลือกบางส่วน (Select Features Prototype)

เป็นตัวต้นแบบที่ใช้ 3 แบบแรกมารวมกัน

เนื้อหาที่ได้นำมาเราได้ตัดที่สำคัญมาให้เพื่อนๆ อ่านกันนะค่ะ ถ้าต้องการศึกษาเพิ่มเติมสามารถคลิ๊กได้ที่
>>> http://www.bcoms.net/system_analysis/lesson82.asp


BY นางสาวพิชชานันท์ พินิจธนภาคย์ (เอ)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น